วันจันทร์ที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2558



หน่วยการเรียนรู้ที่  8
ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ


การประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

      ความหมายและความสำคัญการประสานประโยชน์ร่วมกันระหว่างประเทศ

  การประสานประโยชน์
             การประสานประโยชน์ หมายถึง การร่วมมือกันเพื่อรักษาและป้องกันผลประโยชน์ของตน หรือระงับความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการแข่งขันทางการเมือง เศรษฐกิจระหว่างประเทศ  อ่านเพิ่มเติม






การแลกเปลี่ยนความร่วมมือระหว่างกัน

        ไทย สาธารณรัฐฝรั่งเศส

1. ประธานาธิบดี ฌาคส์ ชีรัค
     1.1 นายกรัฐมนตรีไทยเยือนฝรั่งเศสอย่างเป็นทางการครั้งแรกระหว่างวันที่ 12-13 พฤษภาคม พ.ศ. 2546 และครั้งที่ 2 ระหว่างวันที่ 9 -11 ตุลาคม พ.ศ. 2548 อ่านเพิ่มเติม




หน่วยการเรียนรู้ที่  7
สิทธิมนุษยชน


สิทธิมนุษยชน

        สิทธิมนุษยชน (Human Right)  หมายถึง สิทธิที่มนุษย์ทุกคนมีความเท่าเทียมกัน มีศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของบุคคลที่ได้รับการรับรอง ทั้งความคิดและการกระทำที่ไม่มีการล่วงละเมิดได้ โดยได้รับการ คุ้มครองตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย และสนธิสัญญาระหว่างประเทศ อ่านเพิ่มเติม





องค์การระหว่างประเทศที่มีบทบาทในด้านสิทธิมนุษยชน

องค์กรระหว่างประเทศเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนที่มีต่อประเทศไทย

     1.  คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ
          (The United Nations Human Rights Council) ได้ก่อตั้งขึ้นแทนที่คณะกรรมาธิการการสิทธิมนุษย์ชนแห่งสหประชาชาติ อ่านเพิ่มเติม





หน่วยการเรียนรู้ที่  6
กฎหมาย


กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเองและครอบครัว 

        กฎหมายแพ่งเป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับเอกชนหรือคนแต่ละคน ทั้งเมื่อยู่ตามลำพัง และเมื่อติดต่อกับผู้อื่น ดังจะเห็นได้จากเนื้อหาของกฎหมายแพ่งของไทย ซึ่งมีรวบรวมไว้ในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่ามีบทบัญญัติเกี่ยวกับเรื่องของบุคคล อ่านเพิ่มเติม




ข้อตกลงระหว่างประเทศ 

        คำนิยามของคำว่า  ข้อตกลงระหว่างประเทศ  กับ  สนธิสัญญา  ทั้งสองคำนี้มีความหมายคล้วยคลึงกัน  แต่ในขณะเดียวกันก็มีข้อแตกต่างกันอยู่   ในประเด็นข้อกฏหมายต่างๆ  ดังจะกล่าวต่อไปนี้ อ่านเพิ่มเติม







หน่วยการเรียนรู้ที่  5
การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข


รัฐ

     รัฐ คือ สมาคมของมนุษย์จำนวนหนึ่งครอบครองดินแดนแห่งหนึ่งที่มีอาณาเขตแน่นอน รวมกันอยู่ภายใต้รัฐบาลหนึ่ง ถ้าเป็นกิจการภายในเป็นองค์การแสดงออกซึ่งอธิปไตย แต่ถ้าเป็นกิจการภายนอกเป็นอิสระจากการบังคับบัญชาของรัฐบาลอื่น    อ่านเพิ่มเติม





สถานการณ์และปัญหาการเมืองไทย 

         การเมืองเป็นเรื่องเกี่ยวกับรูปของรัฐและการจัดระเบียบความสัมพันธ์ภายในรัฐระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูกปกครอง โดยเมื่อสังคมมนุษย์ยังมีความจำเป็นที่จะต้องมีรัฐบาล คนเราจึงต้องแบ่งออกเป็นสองพวกใหญ่ๆ คือ ผู้ที่ทำหน้าที่บังคับกับผู้ถูกบังคับเสมอ อ่านเพิ่มเติม



หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พลเมืองดี


หน่วยการเรียนรู้ที่  4
พลเมืองดี


พลเมืองดี

      ความหมายของ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย พลเมือง หมายถึง พละกำลังของประเทศ ซ่ึงมีส่วนเป็นเจ้าของประเทศ หมายถึงประชาชนที่มีสัญชาติไทย มีสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพภายใต้กฎหมายไทย แตกต่างจากชาวต่างชาติที่เข้าเมืองมาเพื่อประกอบธุรกิจ อ่านเพิ่มเติม





คุณลักษณะของพลเมืองดี 

       คุณลักษณะของพลเมืองดีที่สำคัญและจำเป็นสำหรับการอยู่ร่วมกันอย่างราบรื่น  และช่วยจรรโลงให้สังคมประเทศชาติและโลกพัฒนาก้าวหน้า  มีดังนี้ อ่านเพิ่มเติม





หน่วยการเรียนรู้ที่  3  
วัฒนธรรม

วัฒนธรรม 
        
       วัฒนธรรม โดยทั่วไปหมายถึง รูปแบบของกิจกรรมมนุษย์และโครงสร้างเชิงสัญลักษณ์ที่ทำให้กิจกรรมนั้นเด่นชัดและมีความสำคัญ วิถีการดำเนินชีวิต ซึ่งเป็นพฤติกรรมและสิ่งที่คนในหมู่ผลิตสร้างขึ้น ด้วยการเรียนรู้จากกันและกัน และร่วมใช้อยู่ในหมู่พวกของตน ซึ่งสามารถเปลี่ยนแปลงได้ตามยุคสมัย และ ความเหมาะสม อ่านเพิ่มเติม





การเลือกรับวัฒนธรรมสากล 

           การเลือกรับวัฒนธรรมนั้น จะต้องพิจารณาได้ตามปัจจัยดังต่อไปนี้

1. วัฒนธรรมนั้นต้องสามารถผสมผสานเข้ากับโครงสร้างทางสังคมทาง ค่านิยมและขนบธรรมเนียมไทยได้ อ่านเพิ่มเติม



วันอาทิตย์ที่ 4 มกราคม พ.ศ. 2558


หน่วยการเรียนรู้ที่  2  
การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาทางสังคม


การเปลี่ยนแปลงทางสังคม

          สังคมมนุษย์มีลักษณะเช่นเดียวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติต่าง ๆ คือ มีการเปลี่ยนแปลง บางสังคมเปลี่ยนแปลงช้าขณะที่บางสังคมเปลี่ยนเร็ว ในอดีตสังคมส่วนใหญ่เปลี่ยนแปลงอย่างช้า ๆ จนเกือบไม่มีอะไรเปลี่ยนอย่างสำคัญในรอบร้อยปี แต่ในระยะประมาณร้อยปีที่แล้วสังคมจำนวนหนึ่งเปลี่ยนแปลงอย่างมากจากสภาพสังคมแบบโบราณกลายเป็นสังคมสมัยใหม่  อ่านเพิ่มเติม



ปัญหาทางสังคม


       ปัญหาสังคม หมายถึง สภาวะการณ์ที่มีผลกระทบกระเทือนต่อคนจำนวนมากในสังคมและเห็นว่าควรร่วม กันแก้ปัญหานั้นให้ดีขึ้น  อ่านเพิ่มเติม




หน่วยการเรียนรู้ที่  1  
สังคม

โครงสร้างทางสังคม

       โครงสร้างสังคม หมายถึง ระบบของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลที่เชื่อมโยงให้เกิดกลุ่มสังคมที่มีรูปแบบต่าง กันตามระบบความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม อ่านเพิ่มเติม




การจัดระเบียบทางสังคม

         การจัดระเบียบทางสังคม หมายถึง กระบวนการทางสังคมที่จัดขึ้นเพื่อควบคุมสมาชิกให้มีความสัมพันธ์กันภายใต้แบบแผนและกฎเกณฑ์เดียวกัน เพื่อให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม    อ่านเพิ่มเติม